logo
การแสดงโรงละคร
1934
page-template,page-template-full_width,page-template-full_width-php,page,page-id-1934,page-child,parent-pageid-1932,bridge-core-2.2.6,ajax_fade,page_not_loaded,,qode_grid_1400,side_area_uncovered_from_content,footer_responsive_adv,qode-content-sidebar-responsive,qode-theme-ver-21.3,qode-theme-bridge,wpb-js-composer js-comp-ver-6.2.0,vc_responsive
 

การแสดงโรงละคร

เราสร้างความโดดเด่นให้กับคุณ

คาบาเร่ต์, โรงละครรำ และ การแสดงบนเวที

เราทำให้เป็นไปได้อย่างพิเศษ

หุ่นละครเล็ก เป็นหุ่นไทยที่รวมศาสตร์งานศิลป์อันเป็นมรดกทางเชิงช่างแต่ครั้งบรรพกาล ก่อเกิด เป็นความงดงามที่ทรงคุณค่า อนุรักษ์และสืบสานโดยคณะนาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลุยส์) ซึ่งเป็น คณะหุ่นคณะเดียวที่สืบทอดศิลปะการแสดงหุ่นละครเล็กจาก ครูแกร ศัพทวณิช ผู้ริเริ่มสร้างหุ่นละครเล็ก เมื่อปีพุทธศักราช 2444 จนกระทั่งได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานชื่อ “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลุยส์)” เพื่อให้เหมาะสมกับการเป็น ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย โดยได้ถ่ายทอดศิลปะการชักเชิด และศาสตร์การประดิษฐ์กลไกหุ่นอันซับซ้อนให้แก่ทายาท นอกจากการแสดงหุ่นละครเล็กแล้ว ยังมีการแสดงนาฎศิลป์ไทย และดนตรีไทยขึ้นอย่างหลากหลาย ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบการแสดงร่วมสมัย

โรงละครหุ่นกระบอกไทยแบบดั้งเดิม

หุ่นละครเล็ก เป็นหุ่นไทยที่รวมศาสตร์งานศิลป์อันเป็นมรดกทางเชิงช่างแต่ครั้งบรรพกาล ก่อเกิด เป็นความงดงามที่ทรงคุณค่า อนุรักษ์และสืบสานโดยคณะนาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลุยส์) ซึ่งเป็น คณะหุ่นคณะเดียวที่สืบทอดศิลปะการแสดงหุ่นละครเล็กจาก ครูแกร ศัพทวณิช ผู้ริเริ่มสร้างหุ่นละครเล็ก เมื่อปีพุทธศักราช 2444 จนกระทั่งได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานชื่อ “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลุยส์)” เพื่อให้เหมาะสมกับการเป็น ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย โดยได้ถ่ายทอดศิลปะการชักเชิด และศาสตร์การประดิษฐ์กลไกหุ่นอันซับซ้อนให้แก่ทายาท นอกจากการแสดงหุ่นละครเล็กแล้ว ยังมีการแสดงนาฎศิลป์ไทย และดนตรีไทยขึ้นอย่างหลากหลาย ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบการแสดงร่วมสมัย